บทที่ 4
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
การเชื่อมเครือข่าย สามารถเชื่อมต่อได้ 2 วิธีด้วยกัน คือ
1.การเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุด
2.การเชื่อมต่อแบบหลายจุด
โทโพโลยีแบบบัส จะมีสายเคเบิลเส้นหนึ่ง ทำหน้าที่เป็นสายแกนหลักสำหรับเชื่อมต่ออุปกรณ์บนเครือข่ายทั้งหมด
การเชื่อมเครือข่าย สามารถเชื่อมต่อได้ 2 วิธีด้วยกัน คือ
1.การเชื่อมต่อแบบจุดต่อจุด
2.การเชื่อมต่อแบบหลายจุด
โทโพโลยีแบบบัส จะมีสายเคเบิลเส้นหนึ่ง ทำหน้าที่เป็นสายแกนหลักสำหรับเชื่อมต่ออุปกรณ์บนเครือข่ายทั้งหมด
![ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ โทโปโลยีแบบบัส](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEifSOGq0pz4W0DhaEAbLeEXm2MM6CHPnSah85yCgoNA-Xg0WVEi3IRkyI7rrZHVH5YAuMJ7cF0DKoQGh4ADTJBiwn77l-F3ctoNPoIWaDw2M4aXq6Fc4W_NSTCDFczGQItRwI3lCyOUDezC/s1600/bus.png)
โทโพโลยีแบบวงแหวน โหนดแรกและโหนดสุดท้ายจะเชื่อมโยงถึงกัน ทำให้เกิดมุมมองทางกายภาพเป็นรูปวงกลมขึ้นมา แต่ละโหนดบนเครื่อข่ายแแบบวงแหวนจะส่งทอดสัญญานไปในทิศทางเดียวกัน ด้วยการส่งทอดไปยังทีละโหนดถัดไปเรื่อยๆซึ่งทำหน้าที่เป็นเครื่องทวนสัญญานไปในตัว
![ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ โทโปโลยีแบบวงแหวน](https://itcomntwork.files.wordpress.com/2013/02/e0b8a3e0b8b9e0b89be0b8a0e0b8b2e0b89e7.png)
โครงการหมายเลข 802 เป็นโครงการที่ใหญ่มาก ประกอบไปด้วยสมาชิกที่มาจากบริษัทผู้ผลิตและสถาบันการฝึกษาที่น่าสนใจในหัวข้อเรื่องเครือข่ายท้องถิ่นและอินเตอร์เน็ตเวิร์ก โดยคณะกรรมการ
ย่อยของแต่ละชุดในโครงการ 802 จแยกกันพัฒนามาตราฐานเครือข่ายท้องถิ่นที่แตกต่างกัน มีการใช้เลขจุดทศนิยมเพื่อแบ่งแยกเป็นโครงการย่อยๆ
IEEE 802.3 เกี่ยวข้องกับข้อกำหนดมาตราฐานของโพรโทคอลอีเทอร์เน็ต
ย่อยของแต่ละชุดในโครงการ 802 จแยกกันพัฒนามาตราฐานเครือข่ายท้องถิ่นที่แตกต่างกัน มีการใช้เลขจุดทศนิยมเพื่อแบ่งแยกเป็นโครงการย่อยๆ
IEEE 802.3 เกี่ยวข้องกับข้อกำหนดมาตราฐานของโพรโทคอลอีเทอร์เน็ต
IEEE 802.11 เกี่ยวขข้องกับข้อกำหนดมาตราฐานของเครือข่ายท้องถิ่นแบบไร้สาย
ระบบเครือข่ายท้องถิ่้น ประกอบด้วย อีเทอร์เน็ต ไอบีเอ็มโทเก้นริง และ เอฟดีดีไอ
ไอบีเอ็มโทเก้นริง เป็นเครือข่ายที่บริษัทไอบีเอ็มเป็นผู้พัฒนาขึ้นมา ด้วยการใช้โพรโทคอล Token Passing
![ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ไอบีเอ็มโทเก้นริง.](http://www.bloggang.com/data/n/numpuang/picture/1244601849.jpg)
เอฟดีดีไอ จะใช้กลไกการส่งข้อมูลแบบ Token Passing เช่นเดียวกับไอบีเอ็มโทเก้นริง แต่เอฟดีดีไอ จะทำงานด้วยความเร็วสูงแบบไฟเบอร์ออปติก ทั้งนี้เอฟดีดีไอยังสามารถออกแบบเพื่อรองรับความเสียหหายของระบบได้ ด้วยการเพิ่มวงแหวนในเครือข่ายเพิ่มอีก รวมเป็น 2 วงแหวนด้วยกันซึ่งประกอบด้วยวงแหวนปฐมภูมิ และวงแหวนทุติยภูมิ
![ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ เครือข่ายแบบ เอฟดีดีไอ](http://www.satreephuket.ac.th/thananya/ng30101/images/u48.jpg)
อีเทอร์เน็ต ยังสามารถเชื่อต่อได้ 3 รูปแบบด้วยกัน คือ 10Base5, 10Base2, และ 10BaseT ที่ส่งข้อมูลบนควาเร็ว 10เมกะบตต่อวินาที แต่ในปัจจุบันได้พัฒนาความเร็วเป็็นสวิตช์อีเทอร์เน็ต อีเทอร์เน็ตความเร็วสูง และกิกะบิตอีเทอร์เน็ต
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น